ขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ในงาน 3D
1.
นำภาพผิวหน้า
Punch และ Die
สร้างเป็นรูปทรงตัน (Solid) ตามขนาดคำนวณ
2.
ออกแบบโครงสร้างฐานยึด
3.
ออกแบบระบบเหยียบ ( Holder)
4.
กำหนดตำแหน่งและหลักการปลดชิ้นงาน
5.
ดึงชิ้นส่วนมาตรฐานจาก ไฟล์เก็บข้อมูลชิ้นส่วนมาตรฐาน
6.
ใช้คำสั่งประกอบ ตามตำแหน่ง
7.
ใส่
น๊อต สกรู ยึด
ตามที่ออกแบบไว้
8.
แสดงภาพจำลองการเคลื่อนไหว
9.
สังเกตการณ์ทำงานและแก้ไข
ปัจจุบันนี้มีโปรแกรม 3D หลายยี่ห้อที่สามารถออกแบบแม่พิมพ์เป็น
3D
ได้เลยโดยไม่ต้องสร้างจาก 2D ทำให้ออกแบบแม่พิมพ์ได้สะดวกรวดเร็วขึ้นและสารมารถจำลองการทำงานได้เหมือนจริงและอย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาการทดลองและการแก้ปัญหาการออกแบบลงได้อย่างมากดังรูป


รูปที่ 2.29 ตัวอย่างแม่พิมพ์ Progressive ที่ออกแบบด้วยโปรแกรม 3D
เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของโปรแกรม
2D และ 3D
โปรแกรม
|
ข้อดี
|
ข้อเสีย
|
หมายเหตุ
|
2D
|
1. กำหนดขนาดง่าย
|
1. เขียนแบบชิ้นงานยาก
|
|
2. ใส่รายละเอียดครบ
|
2. ดูแบบเข้าใจยาก
|
||
3. นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน
|
3. ต้องวางแบบหลายด้าน
|
||
4. โปรแกรมราคาถูก
|
4. ต้องเขียนภาพตัดหลายรูป
|
||
3D
|
1. เขียนแบบชิ้นงานง่าย
|
1. กำหนดขนาดยาก
|
|
2. ดูภาพเหมือนจริงเข้าใจง่าย
|
2. ใส่รายละเอียดยาก
|
||
3. ไม่ต้องวางแบบหลายด้าน
|
3. ยังไม่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน
|
||
4. ไม่ต้องเขียนภาพตัดหลายรูป
|
4. โปรแกรมราคาแพง
|
บางโปรแกรม
|
ตารางที่ 2.8 เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของโปรแกรม 2D และ 3D
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น