การกำหนด ค่าความเที่ยงตรงและค่าเบี่ยงเบนของตำแหน่ง
การกำหนด ค่าความเที่ยงตรงเช่นของตัวถังรถยนต์ (DEFINITION OF
AUTOMOB)มาตรฐานนี้กำหนดนิยามของตำแหน่งของเส้นพื้นฐานระยะพิกัด เช่นความเบี่ยงเบนของตัวถังรถยนต์ เส้นพื้นฐานระยะพิกัด และตำแหน่งพิกัดสำหรับตัวถัง (BASE COORDINATE
LINE AND POSITION
IN COORDINATES FOR
BODY)
เส้นพื้นฐานระยะพิกัดของตัวถังรถยนต์ประกอบด้วย OT
OB และ OH
ตำแหน่งแท้จริงต้องระบุโดยระยะห่างของ T
B และ H
จากเส้นพื้นฐานระยะพิกัด แบ่งได้ดังนี้
1.1
การบ่งชี้การเบี่ยงเบน
ทิศทางการเบี่ยงเบนตัวถังระบุไว้ด้วย T B และ H จากจุดอ้างอิง ห้ามนำมาตรฐานนี้ไปใช้กับ แบบ ใหม่ที่ไม่มีการระบุ T,
B และ H
1.2
ทิศทางแนว
T เมื่อจุดที่ถูกวัดอยู่ ด้านหน้า ของจุดอ้างอิงใน แบบ ต้องระบุค่าเบี่ยงเบนด้วยสัญลักษณ์ และเมื่ออยู่
ด้านหลัง (REAR SIDE) ต้องระบุค่าเบี่ยงเบนด้วยสัญลักษณ์
( + )
ดังตัวอย่าง การบ่งชี้การเบี่ยงเบนจากตำแหน่งอ้างอิง (ตามทิศทางแนว
T)
ทิศทาง
|
ค่าบน DRAWING A
|
ค่าที่วัดได้ b
|
ค่าเบี่ยงเบน
|
ระบุโดย T,
B หรือ H
|
+ 0.05
T
|
- 0.02
T
|
- 0.07
T
|
ระบุเป็น mm
|
+ 5.0
min
|
- 2.0
mm
|
-0.07 mm
|
ตาราง 3.5 แสดงการบ่งชี้การเบี่ยงเบนจากตำแหน่งอ้างอิง
1.3 ทิศทางแนว B เมื่อจุดที่ถูกวัดอยู่ที่ ด้านขวา
ของตำแหน่งอ้างอิง ในแบบ ต้องระบุค่าเบี่ยงเบนด้วยสัญลักษณ์ (
+ ) และเมื่ออยู่ทาง ด้านซ้าย
ต้องระบุค่าเบี่ยงเบนด้วยสัญลักษณ์
( - )
ดังตัวอย่าง : การบ่งชี้การเบี่ยงเบนจากตำแหน่งอ้างอิง (ตามทิศทางแนว
B)
ทิศทาง
|
ค่าบน DRAWING
A
|
ค่าที่วัดได้ b
|
ค่าเบี่ยงเบน
|
ระบุโดย T
B หรือ H
|
+
0.02 B
|
-
0.03 B
|
- 0.05
B
|
ระบุเป็น mm
|
-2.0
mm
|
-
3.0 mm
|
-
5.0 mm
|
ตาราง 3.6 แสดงการบ่งชี้การเบี่ยงเบนจากตำแหน่งอ้างอิง
1.4 ทิศทางแนว H เมื่อจุดที่ถูกวัดอยู่ที่ ด้านบน ของตำแหน่งอ้างอิง ในแบบ
ต้องระบุค่าเบี่ยงเบนด้วยสัญลักษณ์ (+ ) และเมื่ออยู่ทาง ด้านล่าง
ต้องระบุค่าเบี่ยงเบนด้วยสัญลักษณ์
( - ) ดังตัวอย่าง : การบ่งชี้การเบี่ยงเบนจากตำแหน่งอ้างอิง
(ตามทิศทางแนว H)
ทิศทาง
|
ค่าบน DRAWING
A
|
ค่าที่วัดได้ b
|
ค่าเบี่ยงเบน
|
ระบุโดย T
B หรือ H
|
+ 0.05 H
|
- 0.02
B
|
- 0.07
B
|
ระบุเป็น mm
|
-5.0 mm
|
- 2.0
mm
|
- 7.0
mm
|
ตาราง 3.7 แสดงการบ่งชี้การเบี่ยงเบนจากตำแหน่งอ้างอิง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น