เขียนแบบ
Die
Lay-Out
เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบและวางแผนกระบวนการแล้วต่อไปคือการเขียนแบบซึ่งต้องเขียนรายละเอียดตามขั้นตอนมาตรฐานดังต่อไปนี้
(1). กำหนด Feed
ทิศทางการป้อนชิ้นงาน
แต่ละ Process ให้ชัดเจน
(2). กำหนด Press
Direction ทิศทางการ Press
แต่ละ Process
ให้ชัดเจน
(3). ตารางรายละเอียด เช่น
ตัวอย่าง
มาตรฐานเขียนแบบ Die layout
ที่นิยมใช้กันมีสองแบบคือ
แบบแรก
NO.
|
PROCESS
|
PRESS M/C
|
SYMBOL OF
LINE
|
1/3
|
DRAW
|
BEW – A3 (400 T)
|
![]() |
3.1 1/3 ตัวเลข 1 หมายถึง
PROCESS ที่ 1
ตัวเลข 3
หมายถึง Process ทั้งหมดมี 3 Process
3.2 DRAW
หมายถึง Process Draw
3.3 BEW
– A3 หมายถึง เครื่อง Press ของลูกค้า BEW
3.4
หมายถึง สัญลักษณ์การทำงานใน Process Draw

แบบที่สอง

(4). ตัวอย่าง SYMBOL
OF LINE ของ Process ต่าง ๆ กำหนดดังนี้



(5). Sketch ต้องกำหนดวัสดุที่ใช้ในการทำแม่พิมพ์
(6). กรณีที่เป็น Process มีรู Pierce
หรือ Cam Pierce ให้กำหนดขนาด Punch
และจำนวนรู Pierce
ใน Process ทั้งหมด
(7). กำหนด Car
line ให้ชัดเจน(กรณีแม่พิมพ์รถยนต์)
(8). กำหนด Center ใช้แทน Start Point (ใช้อ้างอิง REF. การทำ Program)
(9). สัญลักษณ์
ที่จำเป็นต่าง ๆ เช่น เส้นศูนย์ชิ้นงาน หรือตำแหน่งจุด Car Line ดังรูป

รูปที่ 2.13
ตัวอย่างสัญลักษณ์ประกอบในงาน Die
Lay-Out
(10). การกำหนดขนาดรู Pierce
เช่น
7 เป็นขนาดตาม Part
Drawing ถ้ากำหนดใน Die
Drawing ต้องกำหนด ค่า
, K.S.H ลงด้วย


(11).
การกำหนดรายละเอียดของ Die lay-out
ดังนี้
1. รูปทรงหรือขนาดที่ไม่ได้กำหนดให้อ้างอิงไปที่ Part Drawing
และ CAD Data
2. ในกรณีงานมีการกำหนดแบบ LH (ซ้าย) และ RH (ขวา) อาจต้องใส่ทิศทางตามหรือทวนเข็มด้วย
3. วัสดุต้องกำหนดด้วย เช่น SKD 11 , THICKNESS =
1.2 mm
4. การคำนวนหา Black Size
= W x
L x t (กว้าง x ยาว
x หนา) ดังตัวอย่าง

รูปที่ 2.14
ตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดและวางรูปชิ้นงานใน Die
Lay-Out
สิ่งที่ต้องพิจารณาเพิ่มเติมและกำหนดลงใน Die
Lay-Out นอกจากที่กำหนดให้ มีรายละเอียดดังนี้
1.
กรณีงาน
Process Trim แล้ว Flange ให้กำหนดใน Section พร้อมแสดงขั้นตอนก่อนหลัง
2.
Scrap
Cutter ในกรณี Plan
view process งาน Draw
และ Trim press
direction เหมือนกัน ให้กำหนด
REF ของ Scrap
cutter ลงในรูป Plan
view ได้เลยถ้า Press
direction ต่างกัน ให้เขียนรูป
Sketch ของ Scrap
cutter เพิ่มขึ้นมาต่างหากอีก 1
รูป (ย่อ Scale เล็กลง)
3.
กรณีชิ้นงานนั้นมี Process
Blank ให้ Lay
out รูป Blank
size แยกต่างหากโดยวางรูปไว้ด้านบนรูปงาน Plan
view ปกติ และต้องมีการกำหนดขนาด
4.
กรณีงาน
Process
Cam ให้กำหนด Cam direction
เป็นองศาให้ชัดเจนจากแกนปกติ
5.
กรณีชิ้นงานมี Mark
L,R หรือ Bottoming Mark ใน Section ให้ระบุการติดตั้งด้วยว่าติดตั้งที่ใด เช่น Lower หรือ Upper
ที่ Title Block จะมีช่อง Revision ให้ Update
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยน
Revision ใหม่ (
)
หรือเปลี่ยน E.O

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น