การเขียนแบบแม่พิมพ์จาก Die
Layout และกำหนดรายละเอียด
3.1 เขียนแบบแม่พิมพ์จาก Die
Layout
การเขียนแบบแม่พิมพ์ต้องเขียนโดยอ้างอิงจาก Die
Layout และต้องคำนึงถึงองค์ประกอบต่าง ๆดังนี้
2.1
ตรวจสอบข้อมูล และเอกสารอ้างอิง ได้แก่
1.
PART DRAWING
2.
DIE LAY OUT
DRAWING
3.
STANDRAD DESIGN (ลูกค้า)
4.
STANDRAD DESIGN (บริษัท)
2.2
ใส่รายละเอียด Title
Block และ SYMBOL
SCREW & PIN ที่มุมล่าง
2.3
กำหนดมาตราส่วน
(SCALE)
2.4
จัดเตรียมรูปชิ้นงานวางรูปชิ้นงานด้านบน ด้านหน้าและด้านข้างของงาน PROCESS
นั้น ๆ โดยการCopy จาก Die Lay-out ด้วยเส้นสีทีเปลี่ยนไป
เพื่อไม่ให้จำสับสน
2.5
เขียนรูปชิ้นงานหรือลอกรูปชิ้นงานใน PROCESS
นั้น ๆ ทั้ง PLAN
VIEW และ เขียนภาพตัด
Section
2.6
กำหนดรายละเอียดของแต่ละ PROCESS
มีขั้นตอนดังนี้คือ
o
เขียนโครงสร้างแม่พิมพ์ใน PROCESS
นั้น ๆ
โดยเขียนรูป PLAN VIEW
และ SECTION
ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อความสัมพันธ์ระหว่าง PLAN
VIEW และ
SECTION
โดยอ้างอิงจาก STANDARD DIE
DRAWING ของแต่ละลูกค้า ถ้าลูกค้าไม่มี STANDARD DIE
DRAWING ของ บริษัท
แทน
o
ข้อควรระวังในการเขียนโครงสร้างแม่พิมพ์ คือ
ให้พิจารณาการทำงานของ
PROCESS ที่เขียนว่าจะมีผลกระทบถึงรูปร่างชิ้นงานนั้นหรือไม่ เช่น
ถ้าเป็นงาน
ขึ้นรูป ก็ไม่ควรยึด
SCREW &
PIN ในตำแหน่งที่มีการขึ้นรูป เพราะจะทำให้
ชิ้นงานเสียรูปร่าง เป็นต้น
หมายเหตุ ในการเขียนโครงสร้างนี้ เป็นการเขียนโครงสร้าง เพื่อดูการทำงานของแม่พิมพ์เท่านั้น
ยังไม่ต้องกำหนดขนาดดังรูปดังรูปตัวอย่างในภาคผนวก ข
(7) ส่ง CHECK
ภายในแบบ หลังจากผู้เขียนตรวจดูรายละเอียดของโครงสร้างเรียบร้อยแล้ว จะส่งแบบให้หัวหน้าส่วน CHECK
ภายในก่อน
ถ้ามีการแก้ไขให้ทำการแก้ไข
(8) ส่งแบบให้ลูกค้า CHECK
การ CHECK ภายใน ถ้าไม่มีการแก้ไข หรือแก้ไขภายในเสร็จแล้ว ให้จัดส่งแบบโครงสร้างให้ลูกค้า Check
ครั้งที่
1ถ้ามีการแก้ไข ให้ทำการแก้ไข ถ้าไม่มีการแก้ไข ให้ลงขนาดและชี้ Balloon ชิ้นส่วนของแม่พิมพ์ และลงรายละเอียดที่ช่วง List
ใน Title block
(9) ส่งแบบให้ลูกค้า Approve หลังจากผู้เขียน
ตรวจดูรายละเอียดของแบบเรียบร้อยแล้วให้ส่งแบบกับหัวหน้าแผนกเพื่อตรวจดูความเรียบร้อย ถ้าไม่เรียบร้อยส่งกลับไปแก้ไข ถ้าเรียบร้อยจัดส่งแบบให้ลูกค้า Approve
(10) ปรับปรุง Strip และการวางระยะตัด Blank ลดความสูญเสียหลังทดลองแม่พิมพ์ผ่าน
3.2 การกำหนดรายละเอียด
การกำหนดรายละเอียด ต่างๆ
ในแบบงานเช่น ผิว
และพิกัดความเผื่อที่ใช้อยู่ในอุตสาหกรรมจะแตกต่างกันไปตามมาตรฐานแต่ละบริษัท
หรือชนิดของอุตสาหกรรมเช่นอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ
อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นต้นซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่างอุตสาหกรรมยานยนต์ เพราะมีการออกแบบยุ่งบาก หลายขั้นตอนกว่า ซึ่งอธิบายเป็นส่วนต่างๆที่กำหนดใว้ในแบบงาน
ดังนี้
(1) การแบ่งกลุ่มสัญลักษณ์ที่กำหนดในแบบ
กลุ่มสัญลักษณ์ที่กำหนดในแบบงานแบ่งออกได้ดังนี้
กลุ่มที่ 1
สัญลักษณ์มาตรฐานกำหนดความหยาบของพื้นผิว
กลุ่มที่ 2
สัญลักษณ์มาตรฐานกำหนดขนาดและความแม่นยำ
กลุ่มที่ 3
สัญลักษณ์บ่งชี้ชนิดของ TOLERANCE
กลุ่มที่ 1
สัญลักษณ์มาตรฐานกำหนดความหยาบของพื้นผิว
สัญลักษณ์มาตรฐานกำหนดความหยาบของพื้นผิว
ชนิด
|
วิธีกำหนด
|
สัญลักษณ์
|
ความหยาบของผิว
|
|
งานที่ต้องการความละเอียดมาก
|
สัญลักษณ์รูปสามเหลี่ยม
|
4 รูป
|
ssss
|
0.8 S (สูงสุด)
|
3 รูป
|
sss
|
6.3 S (สูงสุด)
|
||
2 รูป
|
ss
|
25 S (สูงสุด)
|
||
1 รูป
|
s
|
100 S (สูงสุด)
|
ตารางที่ 3.1 สัญลักษณ์มาตรฐานกำหนดความหยาบของพื้นผิว
การบ่งชี้สัญลักษณ์ลงบน DRAWINGกำหนดไว้ด้านบนมุมขวามือของ DRAWING ใช้กับส่วนที่ไม่ได้กำหนดความหยาบพื้นผิวลงใน DRAWING โดยมีหลักการกำหนดสัญลักษณ์ประกอบดังนี้
1. งานที่ต้องการความละเอียดมาก พื้นผิวที่จำเป็นต้องเคลื่อนที่ขณะใช้งาน
1.1 การบ่งชี้โดยทั่วไป
1.2 กรณีที่มีการร้องขอข้อกำหนดของความหยาบพื้นผิว
2. งานที่ต้องการความละเอียดไม่มาก พื้นผิวที่ไม่จำเป็นต้องเคลื่อนที่ขณะใช้งาน
2.1 การบ่งชี้โดยทั่วไป รหัสความหยาบพื้นผิวต้องมีการระบุไว้ด้วย
2.2 ถ้ามีการร้องขอค่าความหยาบพื้นผิวที่ 100 S หรือน้อยกว่ารหัสความหยาบพื้นผิวจะ
ไม่แสดงไว้
3. งานที่จำเป็นหรือ ไม่จำเป็นต้องการความละเอียด พื้นผิวที่จำเป็น หรือไม่จำเป็นต้องเคลื่อนที่ขณะใช้งาน
3.1
ในกรณีที่มีการร้องขอค่าความหยาบพื้นผิวที่ 6.3 S หรือน้อยกว่า
3.2 ในกรณีที่มีการร้องขอค่าความหยาบพื้นผิวที่ 25 S หรือน้อยกว่า
3.3
ในกรณีที่มีการร้องขอค่าความหยาบพื้นผิวที่ 100 S หรือ น้อยกว่า
3.4 ในกรณีที่มีการร้องขอให้ระบุค่าความหยาบพื้นผิว
รหัสแสดงค่ามาตรฐานระดับความหยาบของพื้นผิว ค่ามาตรฐานระดับความหยาบของพื้นผิวดูในภาคผนวก
ค
กลุ่มที่ 2 สัญลักษณ์มาตรฐานกำหนดขนาด และ
ความแม่นยำ DIMENSION
ตัวอย่างขนาด และความแม่นยำที่กำหนดเอาไว้ของ HES. (HONDA
ENGINEERING STANDARD) หรือนอกเหนือจากนี้แล้วอาจดูจาก JIS.
(JAPANESE
INDUSTRY STANDARD) หรือ
จะมีกำหนดเอาไว้ต่างหากตัวอย่าง : HES
D 0001 – 61
ขนาด
DIMENSION
|
1.0 ~ 10
|
OVER 10 ~ 100
|
OVER100 ~ 500
|
OVER 500
|
||||
HOLE
|
SHAFT
|
HOLE
|
SHAFT
|
HOLE
|
SHAFT
|
HOLE
|
SHAFT
|
|
RANK 1
|
+ 0.2
0
|
0
- 0.2
|
+ 0.3
0
|
0
- 0.3
|
+ 0.5
0
|
0
- 0.5
|
+ 1.0
0 0
|
0
- 1.0
|
RANK 2
|
+ 0.4
0
|
0
- 0.4
|
+ 0.6
0
|
0
- 0.6
|
+ 1.0
0
|
0
-
1.0
|
+ 2.0
0
|
0
- 2.0
|
ตารางที่ 3.2 สัญลักษณ์แสดงความแม่นยำ
การบ่งชี้สัญลักษณ์ลงบน แบบ
รหัสที่ระบุ RANK จะกำหนดไว้ด้านบนมุมขวามือของแบบ
การอ่าน RANK ดูจากเครื่องหมาย
ถ้ามีตัวเลขมีบอกขนาดกำหนดพิกัดไว้ให้ถือตามตัวเลข
กลุ่มที่ 3
สัญลักษณ์มาตรฐานการบ่งชี้ชนิดของ TOLERANCES
มาตรฐานการบ่งชี้ชนิดของ TOLERANCES
ค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้
อธิบายความหมายสัญลักษณ์ได้ดังนี้
สัญลักษณ์
|
บ่งชี้ชนิดของ TOLERANCE
|
|||
![]() |
ความเที่ยงตรงสูง
ความเที่ยงตรงปานกลาง
ความเที่ยงตรงต่ำ
|
ตารางที่
3.3 สัญลักษณ์แสดงชนิดของ TOLERANCE
ความหมายสัญลักษณ์ (SYMBOLS ADDED TO
DIMENSIONS) ที่ใช้กำหนดใน DRAWING
สัญลักษณ์
|
ความหมาย
|
![]() |
เส้นผ่านศูนย์กลาง DIAMETER
|
R
|
รัศมีวงกลม RADIUS
|
![]() |
ด้าน 4
ด้านเท่ากันมุมด้านในเป็นมุมฉาก
SQUARE
|
C
|
การลบมุมทำ TAPER 20o
|
P.C
|
ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางรูทุกรูเท่ากันPITCH CIRCLE
D
|
P.D
|
ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางรูทุกรูเท่ากันPITCH DIAMETER
|
T
|
ความหนา THICKNESS
|
S
|
ผิวโค้งทรงกลม SPHERICAL
SHAPE / SURFACE
|
ตารางที่ 3.4 ตัวอย่างสัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น